คติรัตนตรัยมหายานในศิลปะเขมรช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 ที่พบในภาคกลางของประเทศไทย
ผลการวิจัยดังกล่าวพบว่าคติรัตนตรัยมหายานมีการเคารพนับถือในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พร้อมกับหลักฐานการสร้างรูปเคารพขนาดเล็กและพระพิมพ์ขึ้นในท้องถิ่น อย่างไรก็ตามพบว่าคติรัตนตรัยมหายานไม่เกี่ยวข้องกับจารึกอโรคยศาลที่กล่าวถึงพระไภษัชยคุรุและบริวารทั้งสองผู้คุ้มครองอโรคยศาล โดยขาดหลักฐานศิลปกรรมซึ่งสัมพันธ์กับการตีความของนักวิชาการและลักษณะทางประติมานวิทยาของพระไภษัชยคุรุ
029341 | ว.พ. มศก. ว44ค 2546 | ห้องสมุดสถาบันธรรมชัย (อาคาร 2 ชั้น 4) (ตู้วิทยานิพนธ์ (มศก.)) | พร้อมให้บริการ |
No other version available