การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ กรณีศึกษาประเทศญี่ปุ่น เยอรมนี และสหรัฐอเมริกา
ความเชื่อพื้นฐานที่แตกต่างกันในประเทศทั้งสามคือการคำนึงถึงแต่ละบุคคล หรือการคำนึงกลุ่ม ชาวญี่ปุ่นเลือกไม่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ โดยมีเหตุผลว่าการแบ่งแยกเด็กตามความสนใจและความสามารถเป็นการทำลายการพัฒนาความสัมพันธ์อันใกล้ชิดระหว่างเด็ก ซึ่งเชื่อว่าเป็นเป้าหมายสำคัญที่สุดของการศึกษา ชาวเยอรมันเลือกเน้นความสัมพันธ์ของกลุ่มใน 4 ปีแรกของการศึกษา หลังจากนั้นเปลี่ยนเป็นเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียน นักการศึกษาของสหรัฐอเมริกามีทัศนะที่แตกต่างออกไป โดยพยายามค้นหาความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็กให้ได้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้เพื่อจะได้ค้นพบปัญหาที่อาจทำให้ความก้าวหน้าทางวิชาการของเด็กช้าลง
013486 | Q 181 ส3ก 2543 ฉ.2 | ห้องสมุดสถาบันธรรมชัย (อาคาร 2 ชั้น 4) (ตู้ 6 ชั้น 23) | พร้อมให้บริการ |
No other version available