จอน เอลสเตอร์ กับทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล
Content Notes:
Partial contents: ภาคแรก : ความสำคัญของทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลในบริบทรัฐศาสตร์อเมริกัน: ประวัติความเป็นมา -- การศึกษาทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลในบริบทรัฐศาสตร์ไทย: หลักการและเหตุผลสำหรับการศึกษาทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลของ จอน เอลสเตอร์ -- อิทธิพลจากฐานคิดปรัชญาเศรษฐศาสตร์ต่อทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล: ปรัชญาเศรษฐศาสตร์ของคอลลิงวูด -- ระเบียบวิธีศึกษา สถานะ เป้าหมาย หลักการและเหตุของทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล: เข้าใจทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลของเอลสเตอร์อย่างที่เขาเข้าใจ -- ทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล: ในฐานะพัฒนาการความก้าวหน้าขององค์ความรู้ในการศึกษาเรื่อง 'เหตุผล' ของมนุษย์ -- แบบแผนจำลองการทำงานของทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล -- เป้าหมายของสังคมศาสตร์คือการปลดปล่อยมนุษย์สู่อิสรภาพ: ทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลในฐานะทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ -- ลักษณะของความเป็นเหตุเป็นผล -- ลักษณะของความคิดเป็นเหตุเป็นผลที่ไม่สมบูรณ์ (imperfect rationality): อาการจิตตก (weakness of will): ปัญหาและทางออก -- การวิเคราะห์ความคิดเป็นเหตุเป็นผลเชิงรัฐศาสตร์ในระดับที่ก้าวหน้ามากขึ้น -- ปัจจัยที่เอื้อต่อการค้นพบยุทธศาสตร์ที่ดีที่สุดอันนำทุกฝ่ายไปสู่ประโยชน์สูงสุด -- ทฤษฎีองุ่นเปรี้ยว: การก่อรูปและปรับเปลี่ยนความพึงพอใจเพื่อปรับตัวกับโอกาสและสถานการณ์ (Adaptive preference formation and change) -- สรุป -- ภาคที่สอง เข้าใจทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลของเอลสเตอร์ในบริบทปรัชญาการเมือง: ทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลในบริบทปรัชญาการเมือง : ทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผลในฐานะทฤษฎีการเมืองเชิงคุณค่า (Normative political theory) -- เหตุผลกับจารีตประเพณีวัฒนธรรม (Reason vs nomos) -- ทฤษฎีการเลือกอย่างเป็นเหตุเป็นผล - เศรษฐศาสตร์ - อรรถประโยชน์: โธมัส ฮอบส์ -- ปรัตถนิยม (Altruism): มาเคียเวลลี-รุสโซ -- เหตุผล-ภาษา: อริสโตเติล -- อริสโตเติล-รุสโซ กับปัญหา Akrasia และการแก้ปัญหา: การผูกมัดล่วงหน้า และ Enkrateia -- เพลโตกับปัญหา Akrasia และการแก้ปัญหา: การผูกมัดล่วงหน้า - Enkrateia และ เสรีภาพ
DGS_0000176 | 153.83 ช941จ 2560 | ห้องสมุดบัณฑิณศึกษา DCIGS (อาคาร 1 ชั้น 3) | พร้อมให้บริการ |
No other version available